ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Tetranychus fijiensis Hirst
ชื่อพ้อง (Synonym) Pentanychus fijiensis, Pritchardina fijiensis
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) ไรแมงมุมฟิจิ
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) Fiji spider mite
Phylum Arthropoda
Class Arachnida
Order Trombidiformes
Family Tetranychidae
Genus Tetranychus
Species fijiensis
ศัตรูที่สำคัญของแพสชั่นฟรุท และพืชตระกูลปาล์ม ดูดทำลายที่บริเวณใต้ใบ และสร้างเส้นใยบางๆ ปกคลุม หน้าใบ มีลักษณะเหลืองซีดใบแห้งหลุดร่วง และต้นโทรม
พืชอาศัยหลัก (Main host)
เสาวรส. กระทกรก : passion fruit, passionflower (Passiflora sp.)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
กล้วย, พืชสกุลกล้วย : banana (Musa sp.)
สาวน้อยปะแป้ง : spotted dumbcane (Dieffenbachia maculata )
ลั่นทม ลีลาวดี : Temple tree Pagoda tree Frangipani (Plumeria rubra)
หมาก, หมากผู้ หมากเมีย : areca palm, betelnut palm (Areca catechu)
หม่อน : mulberry (Morus alba)
มะละกอ : papaya/pawpaw (Carica papaya)
สาลี่ : Chinese pear (Pyrus pyriflora)
พืชตระกูลส้ม : (Citrus spp.)
มะพร้าว : coconut (Cocos nucifera)
ท้อ : peach (Prunus persica)
ใบ ผล
พบระบาดในแหล่งปลูกแฟสชั่นฟรุท มีพืชอาศัยหลายชนิด พบมีเขตการแพร่กระจายอยู่ในหลายประเทศ ได้แก่ Argentina, India, Pakistan, Bolivia, Brazil, China, Colombia, Ecuador, Israel, Kenya, Mexico, Paraguay, South Africa, Australia, Cameroon, Chile, Cyprus, Egypt, Greece, Guatemala, Italy, Japan, Jordan, Korea, Madagascar, Morocco, Nepal, Peru, Philippines, Réunion, Tunisia, Turkey, USA, Yemen, Zimbabwe, Afghanistan, Algeria, Bangladesh, Belize, Bhutan, Cambodia, Cook Islands, Costa Rica, Cuba, Côte d'Ivoire, Dominican Republic, El Salvador, Ethiopia, Fiji, French Guiana, Ghana, Grenada, Guadeloupe, Guinea-Bissau, Guyana, Haiti, Honduras, Indonesia, Iraq, Jamaica, Kazakhstan, Kyrgyzstan, Lebanon, Malaysia, Maldives, Mali, Mauritius, Mozambique, New Zealand, Panama, Portugal, Puerto Rico, Russian Federation, Samoa, Spain, Sri Lanka, Syria, Taiwan, Uruguay, Uzbekistan, Vietnam, Zambia, Albania, American Samoa, Angola, Antigua and Barbuda, Azerbaijan, Bahamas, Benin, Brunei Darussalam, Cayman Islands, Central African Republic, Congo, Croatia, Dominica, France, French Polynesia, Gabon, Guam
อากาศแห้งแล้ง ฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานาน
พบในประเทศไทย ตัวห้ำ ได้แก่ ไรตัวห้ำวงศ์ Phytoseiidae, Cunaxidae, Bdelldae, stigmaeidae, Anystidae, Ascidae ไรตัวห้ำที่น่าจะมีบทบาทสำคัญในการควบคุมไรแมงมุมฟิจิ คือ Amblyseius nicholsi Ehara and Lee, A. cinctus Corpuz and Rimando และ A. syzygii Gupta
-ไม่ควรปลูกพืชอาศัยของไรแมงมุมฟิจิในพื้นที่ปลูกแพสชั่นฟรุท
-พ่นสารป้องกันกำจัดไรแมงมุมฟิจิ ตามอัตราที่แนะนำ
[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] URL http://www.catalogueoflife.org/col/search/all/key/Tetranychus
[3] UniProt. 1016. URL http://www.uniprot.org/taxonomy/416407
[4] กลุ่มงานวิจัยไรและแมงมุม. 2543. ไรศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด. เอกสารวิชาการ กองกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด. กรุงเทพฯ. 192 หน้า.
[5] กลุ่มงานวิจัยไรและแมงมุม. 2556. คู่มือตรวจไรศัตรูพืชเศรษฐกิจ. เอกสารวิชาการ กองกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด. สาขา 4, จ.นนทบุรี. 140 หน้า.
พิพิธภัณฑ์ไร กลุ่มงานวิจัยไรและแมงมุม สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable