Tenuipalpus pacificus Baker

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Tenuipalpus pacificus Baker
ชื่อพ้อง (Synonym)  
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  ไรแมงมุมเทียมกล้วยไม้
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  Phalaenopsis mite, orchid flat mite

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Arthropoda
    Class  Arachnida
       Order  Trombidiformes
           Family  Tenuipalpidae
              Genus  Tenuipalpus
                Species  pacificus

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

ดูดกินน้ำเลี้ยงหลังใบและดอกกล้วยไม้ ทำให้เกิดแผลสีน้ำตาล ผิวใบยุบลงและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล หากระบาดรุนแรงจะดูดทำลายด้านหน้าใบด้วย ถ้าไรเข้าทำลายกลีบดอกกล้วยไม้ โดยดูดทำลายด้านหลังกลีบดอก ทำให้ดอกด่างมีจุดสีม่วงเข้มเกิดขึ้น เรียกอาการนี้ว่า หลังลาย กลีบดอกมีขนาดเล็กลงและบิดเบี้ยว

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

วงศ์ Orchidaceae, ไม้วงศ์กล้วยไม้ : Orchidaceae (Orchidaceae)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

เฟินใบมะขาม : tuber sword fern, sword fern (Nephrolepis cordifolia)

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

ใบ ดอก

การแพร่กระจาย (Distribution)

ในประเทศไทย พบระบาดในแหล่งปลูกกล้วยไม้ทั่วประเทศ
ในต่างประเทศ ได้แก่ Afghanistan, Albania, Algeria, Argentina, Armenia, Australia, Austria, Azerbaijan, Bahrain, Belgium, Bolivia, Brazil, Bulgaria, Canada, Chile, China, Colombia,  Costa Rica, Croatia, Cyprus, Czech Republic, Ecuador, Egypt, Ethiopia, France, Germany, Greece, Guatemala, Honduras, Hungary, India, Iraq. Israel, Italy, Japan, Jordan, Kazakhstan, Korea, Kuwait, Kyrgyzstan, Lebanon, Liechtenstein, Luxembourg, Madagascar, Malta, Mexico, Moldova, Morocco, Namibia, Netherlands, New Zealand, Pakistan, Paraguay, Peru, Philippines, Poland, Portugal, Qatar, Romania, Russian Federation, Réunion, Saudi Arabia, Serbia, Slovakia, Slovenia, South Africa, Spain, Switzerland, Syria, Tajikistan, Tunisia, Turkey, Turkmenistan, UK, USA, Ukraine, United Arab Emirates, Uruguay, Uzbekistan, Vietnam, Yemen, Zimbabwe

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

โรงเรือนปลูกกล้วยไม้ที่แออัด อากาศร้อน อบชื้น

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

พบในประเทศไทย ตัวห้ำ ได้แก่ Amblyseius cinctus (ไรตัวห้ำ: predatory mite), Linyphia sp. (แมงมุมใยแผ่น: linyphia spider)  

วิธีการควบคุม (Control measure)

-กำจัดกล้วยไม้เก่าที่มีการทำลายของไรติดอยู่ออกจากโรงเรือน
-พ่นสารป้องกันกำจัดไรแมงมุมเทียมกล้วยไม้ ตามอัตราที่แนะนำ

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Crop Protection Compendium. 2011. URL http://www.cabi.org/cpc/default.aspx?site=161&page=4063
[2] Feature creature. 2015. URL http://entnemdept.ufl.edu/creatures/orn/flowers/Tenuipalpus_pacificus.htm
[3] UniProt. 1016. URL http://www.uniprot.org/taxonomy/416407
[4] กลุ่มงานวิจัยไรและแมงมุม. 2543. ไรศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด. เอกสารวิชาการ กองกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด. กรุงเทพฯ. 192 หน้า.
[5] กลุ่มงานวิจัยไรและแมงมุม. 2556. คู่มือตรวจไรศัตรูพืชเศรษฐกิจ. เอกสารวิชาการ กองกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด. สาขา 4, จ.นนทบุรี. 140 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

พิพิธภัณฑ์ไร กลุ่มงานวิจัยไรและแมงมุม สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication