Thlaspi arvense L. (1753)

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Thlaspi arvense L. (1753)
ชื่อพ้อง (Synonym)  
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  bastard cress, fanweed, field pennycress, pennycress, stinkweed

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Family  Brassicaceae
    Genus  Thlaspi
          Species  Thlaspi arvense
              Variety  -

ลักษณะทางพฤษศาสตร์ (Botanical characteristics)

-เมื่อโตเต็มที่จะมีความสูงประมาณ 18-80 เซนติเมตร
-ใบมีลักษณะรูปทรงไข่ สีเขียว และยาวประมาณ 4-6 เซนติเมตร
-ลำต้นมีสีเขียวอ่อน
-ดอกมีสีขาว
-ฝักมีลักษณะรูปทรงหัวใจภายในมีเมล็ดอยู่ประมาณ 4-16 เมล็ด
-เมล็ดมีลักษณะรูปทรงไข่ มีสีแดง หรือ น้ำตาลอมม่วง-ดำ พื้นผิวมีลักษณะเป็นร่องตามยาวของเมล็ดหลายร่อง และเมล็ดมีขนาด กว้าง 1-1.5 มิลลิเมตร ยาว 1.2-2.3 มิลลิเมตร

ถิ่นที่อยู่ (Habitat)

-พื้นที่เพาะปลูกทั่วไป 
-พิ้นที่ดินรกร้างว่างเปล่า
-เจริญเติบโตได้ในดินหลายประเภท ทั้งดินแห้ง ดินเปียก ดินที่มีธาตุอาหารดี
-ชอบอากาศอบอุ่น

การแพร่กระจาย (Distribution)

Asia: Afghanistan, Armenia, Azerbaijan, Bhutan, Georgia (Republlic of), Iran, Israel, Japan, Jordan, Kazakhstan, Korea (DPR), Korea (Republic of), Kyrgyzstan, Lebanon, Mongolia, Pakistan, Tajikistan, Turkey, Turkmenistan
Africa: South Africa, Tunisia
North America: Canada, Greenland, USA
South America: Argentina, Colombia
Europe: Albania, Austria, Belarus, Belgium, Bulgaria, Czechoslovakia, Denmark, Estonia, Finland, France, Germany, Greece, Hungary, Iceland, Ireland, Israel, Italy, Latvia, Lithuania, Luxembourg, Netherlands, Norway, Poland, Portugal, Romania, Russian Federation, Spain, Sweden, Switzerland, United Kingdom, Yugoslavia
Oceania: Australia, New Zealand

พืชปลูกที่พบวัชพืชระบาด (Infestation in crop)

หอมหัวใหญ่ (Allium cepa
หน่อไม้ฝรั่ง (Asparagus officinalis
ข้าวโอ๊ต (Avena sativa
บีท (Beta vulgaris
ทานตะวัน (Helianthus annuus
บาร์เลย์ (Hordeum vulgare
อัลฟัลฟ่า (Medicago sativa
ถั่วลันเตา (Pisum sativum
มันฝรั่ง (Solanum tuberosum
ข้าวสาลี (Triticum aestivum
ข้าวโพด (Zea mays
ต้นหอม (Allium porrum
ถั่วหัวช้าง (Cicer arietinum
แครอท (Daucus carota
ถั่วเหลือง (Glycine max
ฝ้าย (Gossypium hirsutum
ข้าว (Oryza sativa
ถั่วปากอ้า (Vicia faba
 

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

Meloidogyne hapla

วิธีการควบคุม (Control measure)

เนื่องจากวัชพืชชนิดนี้เป็นศัตรูพืชกักกัน ซึ่งเป็นวัชพืชที่ไม่ควรพบอยู่ในประเทศไทยหรือถ้าพบก็ต้องอยู่ในการควบคุมหรือมีการเฝ้าระวังได้ ดังนั้น หากมีการนำเข้าผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้ หน่วยงานที่รับผิดชอบต้องใช้มาตรการสุขอนามัยพืช (Phytosanitary measures) เช่น
-วิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืช เพื่อออกกฎระเบียบการนำเข้าผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้ จากประเทศที่มีวัชพืชนี้
-สุ่มตรวจสอบผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของเมล็ดวัชพืชชนิดนี้ ทุก shipment ที่มีการนำเข้า 
-พิจารณาการผลิตในแหล่งผลิตของประเทศที่จะส่งออกผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้มายังประเทศไทย เช่น การทำความสะอาดแปลง / การปฏิบัติการเขตกรรมที่เหมาะสม / กานควบคุมวัชพืชด้วยชีววิธี / การควบคุมวัชพืชด้วยสารเคมี / การบริหารจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ (Integrated Pest Management)

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] URL https://www.cabi.org/isc/datasheet/27595
[2] CAB International 2005. Crop Protection Compendium. Walingford, UK: CAB International.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication