ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Parthenium hysterophorus L.
ชื่อพ้อง (Synonym) Argyrochaeta bipinnatifida Cav.
Argyrochaeta parviflora Cav.
Parthenium glomeratum Rollins
Parthenium lobatum Buckl.
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) barley flower, bastard feverfew, bitterweed, broomweed, carrot grass, congress grass, congress weed, dog flea weed, false ragweed, featherfew, feverfew, mugwort, Paterson’s curse, parthenium weed, ragweed parthenium, Santa Maria feverfew, star weed, white top, white top weed, whiteheads, wild wormwood, wormwood
Family Asteraceae
Genus Parthenium
Species Parthenium hysterophorus
Variety -
-เมื่อโตเต็มที่สามารถสูงได้ถึง 30-90 เซนติเมตร
-ในระยะต้นอ่อนใบที่อยู่บริเวณใกล้กับผิวดิน (basal leave) มีการจัดเรียงคล้ายดอกกุหลาบ (rosette form) เมื่อโตเต็มที่ใบจะมีขนาด กว้าง 4-8 เซนติเมตร ยาว 8-20 เซนติเมตร
-ดอกมีสีขาว เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3-5 มิลลิเมตร
-เมล็ดมีลักษณะแบน สีดำ และมีความยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร
-เป็นวัขพืชล้มลุกที่มักขึ้นตามริมถนน ริมทางรถไฟ ริมแม่น้ำ ริมห้วย และลุกลามเข้ามาในพื้นที่เพาะปลูก
-ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์
-พิ้นที่ชื้นแฉะ
-ชอบอากาศร้อน กึ่งชื้น ชื้น
Asia: Bangladesh, Bhutan, China, Israel, Japan, Jordan, Korea (Republic of), Malaysia, Nepal, Oman, Pakistan, Palestine, Saudi Arabia, Sri Lanka, Taiwan, Thailand, United Arab Emirates, Vietnam, Yemen
Africa: Botswana, Comoros, Djibouti, Egypt, Eritrea, Ethiopia, Kenya, Madargascar, Mauritius, Mayotte, Mozambique, Reunion, Rwanda, Seychelles, Somalia, South Africa, Swaziland, Tanzania, Uganda, Zimbabwe
North America: Bermuda, Mexico, USA
Central America and Caribbean: Anguilla, Antiigua and Barbuda, Aruba, Barbados, Belize, British Virgin Islands, Cayman Islands, Costa Rica, Cuba, Curacao, Dominica, Dominican Republic, Grenada, Guadeloupe, Guatemala, Haiti, Honduras, Jamaica, Martinique, Montserrat, Netherlands Antilles, Nicaragua, Panama, Puerto Rico, Saba, Saint Kitts and Nevis, Saint Lucia, Saint Vincent and the Grenadines, Sint Eustatius, Sint Maarten, Trinidad and Tobago, Turks and Caicos Islands, United States Virgin Islands
South America: Argentina, Bolivia, Brazil, Chile, Colombia, Ecuador, French Guiana, Guyana, Paraguay, Peru, Suriname, Uruguay, Venezuela
Oceania: Australia, French Polynesia, New Caledonia, Vanatu
กระเจี๊ยบเขียว (Abelmoschus esculentus)
หอมหัวใหญ่ (Allium cepa)
มะม่วงหิมพานต์ (Anacardium occidentale)
ถั่วลิสง (Arachis hypogaea)
มะละกอ (Carica papaya)
ถั่วหัวช้าง (Cicer arietinum)
พืชสกุลส้ม (Citrus spp.)
มะพร้าว (Cocos nucifera)
พืชสกุลกาแฟ (Coffea spp.)
แครอท (Daucus carota)
ฝ้าย (Gossypium hirsutum)
ทานตะวัน (Helianthus annuus)
มะเขือเทศ (Lycopersicon esculentum)
มะม่วง (Mangifera indica)
พืชสกุลกล้วย (Musa spp.)
ฝรั่ง (Psidium guajava)
อ้อย (Saccharum officinarum)
งา (Sesamum indicum)
มะเขือยาว (Solanum melongena)
มันฝรั่ง (Solanum tuberosum)
ข้าวฟ่าง (Sorghum bicolor)
ข้าวโพด (Zea mays)
Aphis fabae, Bucculatrix parthenica, Carmenta ithacae, Cercospora parthenii, Cercospora partheniphila, Conotrachelus albocinereus, Entyloma compositarum, Epiblema strenuana, Golovinomyces cichoracearum, Insignorthezia insignis, Listronotus setosipennis, Lixus scrobicollis, Myrothecium roridum, Plasmopara halstedii, Platphalonidia mystica, Podosphaera xanthii, Puccinia abrupta, Puccinia abrupta var. partheniicola, Puccinia melampodii, Puccinia xanthii var. parthenii-hysterophorae, Smicronyx lutulentus, Stobaera concinna, Trichoconiella padwickii, Zygogramma bicolorata
เนื่องจากวัชพืชชนิดนี้เป็นศัตรูพืชกักกัน ซึ่งเป็นวัชพืชที่ไม่ควรพบอยู่ในประเทศไทยหรือถ้าพบก็ต้องอยู่ในการควบคุมหรือมีการเฝ้าระวังได้ ดังนั้น หากมีการนำเข้าผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้ หน่วยงานที่รับผิดชอบต้องใช้มาตรการสุขอนามัยพืช (Phytosanitary measures) เช่น
-วิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืช เพื่อออกกฎระเบียบการนำเข้าผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้ จากประเทศที่มีวัชพืชนี้
-สุ่มตรวจสอบผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของเมล็ดวัชพืชชนิดนี้ ทุก shipment ที่มีการนำเข้า
-พิจารณาการผลิตในแหล่งผลิตของประเทศที่จะส่งออกผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้มายังประเทศไทย เช่น การทำความสะอาดแปลง / การปฏิบัติการเขตกรรมที่เหมาะสม / กานควบคุมวัชพืชด้วยชีววิธี / การควบคุมวัชพืชด้วยสารเคมี / การบริหารจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ (Integrated Pest Management)
[1] URL https://www.cabi.org/isc/datasheet/45573
[2] CAB International 2005. Crop Protection Compendium. Walingford, UK: CAB International.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable