ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Chenopodium album L. 1753
ชื่อพ้อง (Synonym) Chenopodium album subsp. reticulatum (Aellen) Beauge ex Greuter & Burdet
Chenopodium reticulatum Aellen
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) bacon-weed, common lambsquarters, fat hen, frost-blite, mealweed, pigweed, white goosefoot
Family Chenopodiaceae
Genus Chenopodium
Species Chenopodium album
Variety -
-ใบมีลักษณะรูปทรงไข่ขอบใบหยัก
-ลำต้นมีลักษณะเหลี่ยมตั้งตรงสีเขียวอ่อน แตกกิ่งมาก สูงประมาณ 0.3-2 เมตร
-ดอกเป็นแบบสมบูรณ์เพศ ประกอบด้วยเกสรตัวผู้ 5 อัน เกสรตัวเมีย 1 อัน และช่อดอกมีสีเขียว
-เมล็ดค่อนข้างกลมแบนสีดำ เป็นมัน รูปร่างคล้ายเลนส์นูน ผิวเมล็ดมีเยื่อบางสีน้ำตาลและเทาห่อหุ้ม และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.7-1.5 มิลลิเมตร
-กระจายอยู่ในพื้นที่เพาะปลูกพืชทั่วไปส่วนใหญ่ จัดเป็นวัชพืชลำดับต้นๆที่ระบาดเกือบทั่วโลก
-พิ้นที่ดินรกร้างว่างเปล่า
-พื้นที่ริมถนน ริมชายฝั่ง
-ปรับตัวและเจริญเติบโตได้เกือบทุกสภาพแวดลล้อม
Asia: Afghanistan, Bangladesh, Bhutan, China, India, Indonesia, Iran, Iraq, Israel, Japan, Korea (Republic of), Lebanon, Mongolia, Nepal, Pakistan, Saudi Arabia, Sri Lanka, Taiwan, Turkey, United Arab Emirates
Africa: Algeria, Botswana, Egypt, Ethiopia, Kenya, Lesotho, Morocco, Mozambique, Nambia, South Africa, Swaziland, Tanzania, Tunisia, Uganda, Zambia, Zimbabwe
North America: Canada, Mexico, USA
South America: Argentina, Brazil, Chile, Colombia, Peru
Europe: Austria, Belgium, Bulgaria, Czechoslovakia, Denmark, Estonia, Finland, France, Germany, Hungary, Italy, Netherlands, Norway, Poland, Portugal, Romania, Russian Federation, Spain, Sweden, Switzerland, United Kingdom, Ukraine, Yugoslavia
Oceania: Australia, New Zealand
ถั่วลิสง (Arachis hypogaea)
บีทหวาน (Beta vulgaris var. saccharifera)
กะหล่ำปลี (Brassica oleracea var. capitata)
ชา (Camellia sinensis)
ถั่วหัวช้าง (Cicer arietinum)
พืชสกุลส้ม (Citrus spp.)
สตรอเบอรี่ (Fragaria ananassa)
ถั่วเหลือง (Glycine max)
ฝ้าย (Gossypium hirsutum)
ทานตะวัน (Helianthus annuus)
ข้าวบาร์เลย์ (Hordeum vulgare)
มะเขือเทศ (Lycopersicon esculentum)
ยาสูบใบใหญ่ (Nicotiana tabacum)
ข้าว (Oryza sativa)
มันฝรั่ง (Solanum tuberosum)
ข้าวฟ่าง (Sorghum bicolor)
ข้าวสาลี (Triticum aestivum)
องุ่น (Vitis vinifera)
ข้าวโพด (Zea mays)
สับปะรด (Ananas comosus)
มันเทศ (Ipomoea batatas)
กล้วย (Musa spp.)
พริกไทย (Piper nigrum)
อ้อย (Saccharum officinarum)
Alternaria alternata, Ascochyta betae, Ascochyta hyalospora, Passalora dubia, Pleospora calvescens
เนื่องจากวัชพืชชนิดนี้เป็นศัตรูพืชกักกัน ซึ่งเป็นวัชพืชที่ไม่ควรพบอยู่ในประเทศไทยหรือถ้าพบก็ต้องอยู่ในการควบคุมหรือมีการเฝ้าระวังได้ ดังนั้น หากมีการนำเข้าผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้ หน่วยงานที่รับผิดชอบต้องใช้มาตรการสุขอนามัยพืช (Phytosanitary measures) เช่น
-วิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืช เพื่อออกกฎระเบียบการนำเข้าผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้ จากประเทศที่มีวัชพืชนี้
-สุ่มตรวจสอบผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของเมล็ดวัชพืชชนิดนี้ ทุก shipment ที่มีการนำเข้า
-พิจารณาการผลิตในแหล่งผลิตของประเทศที่จะส่งออกผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้มายังประเทศไทย เช่น การทำความสะอาดแปลง / การปฏิบัติการเขตกรรมที่เหมาะสม / กานควบคุมวัชพืชด้วยชีววิธี / การควบคุมวัชพืชด้วยสารเคมี / การบริหารจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ (Integrated Pest Management)
[1] URL https://www.cabi.org/isc/datasheet/12648
[2] CAB International 2005. Crop Protection Compendium. Walingford, UK: CAB International.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable