ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Solanum elaeagnifolium Cavanilles
ชื่อพ้อง (Synonym) Solanum dealbatum Lindl.
Solanum flavidum Torr.
Solanum leprosum Ortega
Solanum obtusifolium Willd.
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) bull nettle, prairie berry nightshade, silverleaf nettle, silver-leaf nightshade
Family Solanaceae
Genus Solanum
Species Solanum elaeagnifolium
Variety -
-เมื่อโตเต็มที่สูงประมาณ 1 เมตร และรากสามารถชอนไชลงไปในดินได้ลึกมากกว่า 2 เมตร
-ใบมีสีเขียวเข้ม-เขียวแกมเงิน มีความยาวขนาด 2.5-10 เซนติเมตร กว้างขนาด 1-4 เซนติเมตร ก้านใบยาว 0.5-2 เซนติเมตร
-ลำต้นมีสีเหลือง-น้ำตาล
-ดอกสีฟ้า-ม่วง
-ผลิตผลได้ประมาณ 40-60 ผล / ต้น และใน 1 ผล จะมีเมล็ดอยู่ประมาณ 60-120 เมล็ด โดยเมล็ดมีลักษณะเรียบ สีน้ำตาลแกมเขียว เส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 2-3 มิลลิเมตร
-เป็นวัชพืชที่ปรับตัวได้ดี และพบมากในบริเวณที่มีฝนตกน้อย
-พบในพื้นที่เพาะปลูกทั่วไป
-พบในพื้นที่ลาดชัน พื้นที่ริมลำธาร
-คอกเลี้ยงสัตว์
Asia: India (restricted distribution), Iraq, Israel, Lebanon, Pakistan, Syria (restricted distribution), Taiwan (restricted distribution), Turkey, Turkmenistan, Uzbekistan
Africa: Algeria, Egypt, Lesotho, Morocco, South Africa, Tunisia, Zimbabwe
North America: Mexico, USA
Central America and Caribbean: Aruba, Bahamas, British Virgin Islands, Cuba, Curacao, Guatemala, Honduras, Puerto Rico
South America: Argentina (restricted distribution), Brazil, Chile, Paraguay, Uruguay
Europe: Croatia, Cyprus, France, Greece, Italy, Macedonia, Serbia (restricted distribution), Spain
Oceania: Australia
ฝ้าย (Gossypium hirsutum)
อัลฟัลฟ่า (Medicago sativa)
ข้าวฟ่าง (Sorghum bicolor)
ข้าวสาลี (Triticum aestivum)
ข้าวโพด (Zea mays)
ถั่วลิสง (Arachis hypogaea)
หน่อไม้ฝรั่ง (Asparagus officinalis)
แตงกวา (Cucumis sativa)
มะเขือเทศ (Lycopersicon esculentum)
มะกอกโอลีฟ (Olea europaea)
พีช (Prunus persica)
มันฝรั่ง (Solanum tuberosum)
องุ่น (Vitis vinifera)
Leptinotarsa defecta, Leptinotarsa texana, Orrina phyllobia, Trichobaris texana
เนื่องจากวัชพืชชนิดนี้เป็นศัตรูพืชกักกัน ซึ่งเป็นวัชพืชที่ไม่ควรพบอยู่ในประเทศไทยหรือถ้าพบก็ต้องอยู่ในการควบคุมหรือมีการเฝ้าระวังได้ ดังนั้น หากมีการนำเข้าผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้ หน่วยงานที่รับผิดชอบต้องใช้มาตรการสุขอนามัยพืช (Phytosanitary measures) เช่น
-วิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืช เพื่อออกกฎระเบียบการนำเข้าผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้ จากประเทศที่มีวัชพืชนี้
-สุ่มตรวจสอบผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของเมล็ดวัชพืชชนิดนี้ ทุก shipment ที่มีการนำเข้า
-พิจารณาการผลิตในแหล่งผลิตของประเทศที่จะส่งออกผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้มายังประเทศไทย เช่น การทำความสะอาดแปลง / การปฏิบัติการเขตกรรมที่เหมาะสม / กานควบคุมวัชพืชด้วยชีววิธี / การควบคุมวัชพืชด้วยสารเคมี / การบริหารจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ (Integrated Pest Management)
[1] URL https://www.cabi.org/isc/datasheet/50516
[2] CAB International 2005. Crop Protection Compendium. Walingford, UK: CAB International.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable