ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Heliotropium europaeum L. (1753)
ชื่อพ้อง (Synonym) Heliotropium carduchorum C. Koch (1849)
Heliotropium commutatum Roemer & Schultes (1819)
Heliotropium incanescens Andrz. (1822)
Heliotropium stevenianum Andrz. (1822)
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) common heliotrope, European heliotrope, heliotrope
Family Boraginaceae
Genus Heliotropium
Species Heliotropium europaeum
Variety -
-เมื่อโตเต็มที่มีความสูงประมาณ 4-40 เซนติเมตร
-ใบมีลักษณะรูปทรงไข่ สีเทา-เขียว และมีขนาด กว้าง 1-3 เซนติเมตร ยาว 1.5-9 เซนติเมตร
-ลำต้นมีสี เทา-เขียว และรากแก้วของวัชพืชชนิดนี้สามารถชอนไชลงไปในดินได้ลึกมากกว่า 1 เมตร
-ดอกมีสีขาว ผลมีสีน้ำตาลอมเขียวและตรงบริเวณโค้งเว้าจะมีสีน้ำตาล ภายในมี--เมล็ดสีน้ำตาล-ดำ และมีขนาด กว้าง 1 มิลลิเมตร ยาว 2 มิลลิเมตร
-พบอยู่ตามแถวของพืชปลูก
-พิ้นที่ดินรกร้างว่างเปล่า
-พบมากตามทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์
-เจริญเติบโตได้ในดินทั้งที่เป็นกรดและด่าง
-ชอบอากาศอบอุ่น ค่อนข้างร้อน
Asia: Afghanistan, China, India, Indonesia, Iran, Iraq, Israel, Jordan, Lebanon, Oman, Pakistan, Saudi Arabia, Syria, Turkey, Turkmenistan, Uzbekistan
Africa: Algeria, Egypt, Morocco, Nigeria, South Africa, Sudan, Tunisia
North America: USA
Central America and Caribbean: Sint Maarten
Europe: Albania, Austria, Belgium, Bulgaria, Cyprus, Czechoslovakia, France, Germany, Greece, Hungary, Italy, Portugal Romania, Russian Federation, Spain, Switzerland, Ukraine, Yugoslavia
Oceania: Australia, New Zealand
ถั่วลิสง (Arachis hypogaea)
บีท (Beta vulgaris)
ถั่วหัวช้าง (Cicer arietinum)
เลมอน (Citrus limon)
แตงเทศ (Cucumis melo)
แตงกวา (Cucumis sativa)
ถั่วเหลือง (Glycine max)
ฝ้าย (Gossypium hirsutum)
ทานตะวัน (Helianthus annuus)
มะเขือเทศ (Lycopersicon esculentum)
แอปเปิ้ล (Malus domestica)
อัลฟัลฟ่า (Medicago sativa)
ข้าว (Oryza sativa)
ถั่วแขก (Phaseolus vulgaris)
พีช (Prunus persica)
สาลี่ฝรั่ง (Pyrus communis)
อ้อย (Saccharum officinarum)
งา (Sesamum indicum)
ข้าวฟ่าง (Sorghum bicolor)
ข้าวสาลี (Triticum aestivum)
องุ่น (Vitis vinifera)
ข้าวโพด (Zea mays)
Cercospora taurica, Ethmia distigmatella, Fusarium oxysporum f.sp. heliotropae, Longitarsus albineus, Pachycerus madidus, Uromyces distigmatella, Uromyces heliotropii, Utethesia pulchella
เนื่องจากวัชพืชชนิดนี้เป็นศัตรูพืชกักกัน ซึ่งเป็นวัชพืชที่ไม่ควรพบอยู่ในประเทศไทยหรือถ้าพบก็ต้องอยู่ในการควบคุมหรือมีการเฝ้าระวังได้ ดังนั้น หากมีการนำเข้าผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้ หน่วยงานที่รับผิดชอบต้องใช้มาตรการสุขอนามัยพืช (Phytosanitary measures) เช่น
-วิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืช เพื่อออกกฎระเบียบการนำเข้าผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้ จากประเทศที่มีวัชพืชนี้
-สุ่มตรวจสอบผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของเมล็ดวัชพืชชนิดนี้ ทุก shipment ที่มีการนำเข้า
-พิจารณาการผลิตในแหล่งผลิตของประเทศที่จะส่งออกผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้มายังประเทศไทย เช่น การทำความสะอาดแปลง / การปฏิบัติการเขตกรรมที่เหมาะสม / กานควบคุมวัชพืชด้วยชีววิธี / การควบคุมวัชพืชด้วยสารเคมี / การบริหารจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ (Integrated Pest Management)
[1] URL https://www.cabi.org/isc/datasheet/26898
[2] CAB International 2005. Crop Protection Compendium. Walingford, UK: CAB International.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable