ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Cirsium arvense (L.) Scop. (1772
ชื่อพ้อง (Synonym) Cirsium incanum Bieb.
Cirsium lanatum Spreng.
Cirsium setosum (Willd.) Bieb.
Cnicus arvensis Hoffm.
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) California thistle, Canada thistle, creeping thistle, field thistle
Family Asteraceae
Genus Cirsium
Species Cirsium arvense
Variety -
-เมื่อโตเต็มที่มีความสูงประมาณ 0.3-130 เซนติเมตร
-ใบมีลักษณะรูปทรงไข่ขอบใบหยักและมีหนามที่บริเวณขอบใบ
-ดอกมีสี ม่วง-ชมพู และมีขนาด กว้าง 5-8 มิลลิเมตร ยาว 15-25 มิลลิเมตรและในช่อดอก 1 ช่อ จะมีดอกประมาณ 1-5 ดอก
-เมล็ดมีลักษณะทรงกระบอก และมีขนาด กว้าง 1 มิลลิเมตร ยาว 2.5-4 มิลลิเมตร
-พบในพื้นที่เพาะปลูกพืชที่ชอบอากาศปานกลาง ทั้งพืชยืนต้น และ พืชล้มลุก
-พิ้นที่ที่มีการจัดการ หรือไม่จัดการดินเพื่อการเพาะปลูก
-พื้นที่ริมถนน ริมทางรถไฟ
Asia: Afghanistan (restricted distribution), Armenia, Azerbaijan, China (restricted distribution), Georgia (Republic of), India, Iran, Japan (restricted distribution), Korea (DPR), Korea (Republic of), Lebanon (restricted distribution), Pakistan, Turkey, Turkmenistan
Africa: Angola, South Africa, Sudan, Swaziland, Tunisia, Zimbabwe (restricted distribution)
North America: Canada (restricted distribution), Mexico, USA
South America: Chile (restricted distribution)
Europe: Albania, Austria, Belarus, Belgium (restricted distribution), Bulgaria, Croatia, Czech Republic, Czechoslovakia, Denmark, Estonia, Finland (restricted distribution), France (restricted distribution), Germany, Greece, Hungary, Iceland, Ireland, Italy, Latvia, Lithuania, Moldova, Netherlands, Norway, Poland, Portugal (restricted distribution), Romania, Russian Federation, Slovakia, Slovenia, Spain, Sweden, Switzerland, United Kingdom, Ukraine, Yugoslavia
Oceania: Australia (restricted distribution), New Zealand
ข้าวโอ๊ต (Avena sativa)
ถั่วเหลือง (Glycine max)
ทานตะวัน (Helianthus annuus)
ข้าวบาร์เลย์ (Hordeum vulgare)
อัลฟัลฟ่า (Medicago sativa)
ลูกเดือย (Panicum miliaceum)
ถั่วลันเตา (Pisum sativum)
ข้าวไรย์ (Secale cereale)
ข้าวฟ่าง (Sorghum bicolor)
ข้าวสาลี (Triticum aestivum)
ข้าวโพด (Zea mays) พืชสกุลหอม (Allium spp.)
ขึ้นฉ่ายฝรั่ง (Apium graveolens)
ถั่วลิสง (Arachis hypogaea)
หน่อไม้ฝรั่ง (Asparagus officinalis)
บีทหวาน (Beta vulgaris var. saccharifera)
พืชสกุลกะหล่ำ (Brassica spp.)
พริกหยวก (Capsicum annuum)
ถั่วหัวช้าง (Cicer arietinum)
พืชตระกูลแตง (Cucurbita)
แครอท (Daucus carota)
สตรอเบอรี่ (Fragaria ananassa)
ผักกาดหอม (Lactuca sativa)
มะเขือเทศ (Lycopersicon esculentum)
แอปเปิ้ล (Malus domestica)
พริกไทย (Piper nigrum)
พืชสกุลพรูนัส (Prunus spp.)
สาลี่ฝรั่ง (Pyrus communis)
หัวผักกาดขาว (Raphanus sativus)
แบล็คเบอรี่ (Rubus fruticosus)
ราสเบอรี่ (Rubus idaeus)
มะเขือยาว (Solanum melongena)
มันฝรั่ง (Solanum tuberosum)
ถั่วปากอ้า (Vicia faba)
องุ่น (Vitis vinifera
Aceria anthocoptes, Aceria anthocoptes, Alternaria cirsinoxia, Altica carduorum, Aphis fabae cirsiiacanthoidis, Apion onopordi, Brachycaudus cardui, Capitophorus carduinus, Cassida rubiginosa, Ceutorhynchus litura, Cleonis pigraDasyneura gibsoni, Erysiphe mayorii var. mayorii, Larinus planus, Lobesia abscisana, Mycosphaerella cirsii-arvensis, Orellia scorzonerae, Phoma destructiva, Phomopsis cirsii, Pseudomonas syringae pv. tagetis, Puccinia punctiformis, Puccinia suaveolens, Ramularia cirsii, Rhinocyllus conicus, Sclerotinia sclerotiorum, Septoria cirsii, Spaeroderma testaceum, Tephritis cometa, Terellia ruficauda, Uroleucon cirsii, Urophora aprica, Urophora cardui, Urophora eriolepidis, Urophora solstitialis, Urophora stylata, Verticillium dahliae, Xyphosia miliaria
เนื่องจากวัชพืชชนิดนี้เป็นศัตรูพืชกักกัน ซึ่งเป็นวัชพืชที่ไม่ควรพบอยู่ในประเทศไทยหรือถ้าพบก็ต้องอยู่ในการควบคุมหรือมีการเฝ้าระวังได้ ดังนั้น หากมีการนำเข้าผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้ หน่วยงานที่รับผิดชอบต้องใช้มาตรการสุขอนามัยพืช (Phytosanitary measures) เช่น
-วิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืช เพื่อออกกฎระเบียบการนำเข้าผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้ จากประเทศที่มีวัชพืชนี้
-สุ่มตรวจสอบผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของเมล็ดวัชพืชชนิดนี้ ทุก shipment ที่มีการนำเข้า
-พิจารณาการผลิตในแหล่งผลิตของประเทศที่จะส่งออกผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้มายังประเทศไทย เช่น การทำความสะอาดแปลง / การปฏิบัติการเขตกรรมที่เหมาะสม / กานควบคุมวัชพืชด้วยชีววิธี / การควบคุมวัชพืชด้วยสารเคมี / การบริหารจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ (Integrated Pest Management)
[1] URL https://www.cabi.org/isc/datasheet/13628
[2] CAB International 2005. Crop Protection Compendium. Walingford, UK: CAB International.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable