ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Spergula arvensis L. (1753)
ชื่อพ้อง (Synonym) Spergula linicola Boreau.
Spergula maxima Weihe.
Spergula sativa Boenn.
Spergula vulgaris Boenn.
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) corn spurry, spurry
Family Caryophyllaceae
Genus Spergula
Species Spergula arvensis
Variety -
-เมื่อโตเต็มที่จะมีความสูงประมาณ 15-60 เซนติเมตร
-ใบมีลักษณะเป็นทรงกระบอกขนาดเล็ก ติดกับส่วนของลำต้น มีสีเขียว และมีความยาวประมาณ 1.5-4 เซนติเมตร
-ดอกมีสีขาว มีกลีบดอกจำนวน 5 กลีบ และเกสรตัวผู้มีสีเหลือง
-เมล็ดมีลักษณะทรงกลมแบน สีดำ ผิวขรุขระ มีแผ่นบางๆ สีน้ำตาลอมส้มที่บริเวณขอบเมล็ด และเมล็ดมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-1.5 มิลลิเมตร
-พื้นที่เพาะปลูกทั่วไป
-พิ้นที่ดินรกร้างว่างเปล่า
-เจริญเติบโตได้ในดินทราย ดินมี pH 4.6 - 5
-ชอบอากาศร้อน
Asia: Bhutan, India, Indonesia, Israel, Japan, Korea (DPR), Korea (Republic of), Pakistan, Philippines, Taiwan
Africa: Ethiopia, Kenya, Lesotho, Morocco, Nambia, South Africa, Tanzania, Uganda, Zimbabwe
North America: Canada, USA
Central America and Caribbean: Jamaica, United States Virgin Islands
South America: Argentina, Bolivia, Brazil, Chile, Colombia, Ecuador
Europe: Albania, Andora, Austria, Belarus, Belgium, Bosnia-Hercegovinia, Bulgaria, Croatia, Cyprus, Czech Republic, Czechoslovakia, Denmark, Estonia, Finland, France, Germany, Gibraltar, Greece, Hungary, Iceland, Ireland, Italy, Latvia, Liechtenstein, Lithuania, Luxembourg, Macedonia, Malta, Moldova, Monaco, Netherlands, Norway, Poland, Portugal, Romania, Russian Federation, San Marino, Slovakia, Slovenia, Spain, Sweden, Switzerland, United Kingdom, Ukraine, Yugoslavia
Oceania: Australia, New Zealand
ข้าวโอ๊ต (Avena sativa)
บีท (Beta vulgaris)
ข้าวบาร์เลย์ (Hordeum vulgare)
ถั่วลันเตา (Pisum sativum)
ข้าวไรย์ (Secale cereale)
มันฝรั่ง (Solanum tuberosum)
ข้าวสาลี (Triticum aestivum)
ข้าวโพด (Zea mays)
หอมหัวใหญ่ (Allium cepa)
กระเทียม (Allium sativum)
หน่อไม้ฝรั่ง (Asparagus officinalis)
แตงกวา (Cucumis sativa)
สตรอเบอรี่ (Fragaria ananassa)
ถั่วปากอ้า (Vicia faba)
Schizonobia sycophanta
เนื่องจากวัชพืชชนิดนี้เป็นศัตรูพืชกักกัน ซึ่งเป็นวัชพืชที่ไม่ควรพบอยู่ในประเทศไทยหรือถ้าพบก็ต้องอยู่ในการควบคุมหรือมีการเฝ้าระวังได้ ดังนั้น หากมีการนำเข้าผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้ หน่วยงานที่รับผิดชอบต้องใช้มาตรการสุขอนามัยพืช (Phytosanitary measures) เช่น
-วิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืช เพื่อออกกฎระเบียบการนำเข้าผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้ จากประเทศที่มีวัชพืชนี้
-สุ่มตรวจสอบผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของเมล็ดวัชพืชชนิดนี้ ทุก shipment ที่มีการนำเข้า
-พิจารณาการผลิตในแหล่งผลิตของประเทศที่จะส่งออกผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้มายังประเทศไทย เช่น การทำความสะอาดแปลง / การปฏิบัติการเขตกรรมที่เหมาะสม / กานควบคุมวัชพืชด้วยชีววิธี / การควบคุมวัชพืชด้วยสารเคมี / การบริหารจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ (Integrated Pest Management)
[1] URL https://www.cabi.org/isc/datasheet/50838
[2] CAB International 2005. Crop Protection Compendium. Walingford, UK: CAB International.
[3] Srivastava, M. P., O. P. Yadav and S. Singh. 1986. Corn-spurry: a new host of white rust of crucifers. Indian J. Plant Patho. 4 (1): 78-79.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable