Asphodelus tenuifolius Cav.

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Asphodelus tenuifolius Cav.
ชื่อพ้อง (Synonym)  Asphodelus fistulosus L. (1753)
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  asphodelus, hollow-stemmed asphodel, onion weed, wild onion

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Family  Liliaceae
    Genus  Asphodelus
          Species  Asphodelus tenuifolius
              Variety  -

ลักษณะทางพฤษศาสตร์ (Botanical characteristics)

-เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ต้นอ่อนรากมีสีเหลืองและเมื่อเจริญเต็มที่จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม
-ใบมีลักษณะอวบน้ำ ยาวเรียว มีขนาด 10-40 เซนติเมตร
-ดอกมีสีขาว กลีบดอก 5 กลีบ และมีเส้นสีชมพูหรือม่วงบริเวณกึ่งกลางตามยาวของกลีบดอกจำนวน 1 เส้น  
-เมล็ดมีลักษณะผิวไม่เรียบ มีเหลี่ยมมุม 3 ด้าน และมีสีน้ำตาลกับแถบลายสีดำ

ถิ่นที่อยู่ (Habitat)

-พื้นที่เพาะปลูกพืชที่มีวัชพืชนี้ระบาด เช่น ข้าวสาลี มันฝรั่ง ยาสูบ
-ชอบอากาศแห้ง ฝนตกน้อย
-เจริญเติบโตได้ทั้งในดินทราย ดินที่ไม่ค่อยมีความชื้น ดิน pH 7

การแพร่กระจาย (Distribution)

Asia: Afghanistan, Bangladesh, India (restricted distribution), Iran, Iraq, Israel, Malaysia, Nepal, Oman, Pakistan, Saudi Arabia, Turkey, Yemen
Africa: Algeria, Egypt, Mauritius, Morocco, Sudan
North America: Mexico, USA
South America: Bolivia, Peru
Europe: France, Greece, Italy, Portugal, Spain (restricted distribution), Yugoslavia
Oceania: Australia (restricted distribution), New Zealand (districted distribution)

หมายเหตุ: วัชพืชชนิดนี้เป็นพืชอาศัยของเชื้อ Macrophomina phaseoli ซึ่งเป็นเชื้อราที่ทำให้เกิดโรครากเน่าและอาจแพร่กระจายไปยังพืชปลูกชนิดอื่นได้  

พืชปลูกที่พบวัชพืชระบาด (Infestation in crop)

ถั่วหัวช้าง (Cicer arietinum
ยาสูบใบใหญ่ (Nicotiana tabacum
ถั่วลันเตา (Pisum sativum
มันฝรั่ง (Solanum tuberosum
ข้าวสาลี (Triticum aestivum
บีท (Beta vulgaris
พืชสกุลส้ม (Citrus spp.) 
ฝ้าย (Gossypium hirsutum
ข้าวบาร์เลย์ (Hordeum vulgare
อัลฟัลฟ่า (Medicago sativa
อ้อย (Saccharum officinarum
ข้าวโพด (Zea mays)
 

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

วิธีการควบคุม (Control measure)

เนื่องจากวัชพืชชนิดนี้เป็นศัตรูพืชกักกัน ซึ่งเป็นวัชพืชที่ไม่ควรพบอยู่ในประเทศไทยหรือถ้าพบก็ต้องอยู่ในการควบคุมหรือมีการเฝ้าระวังได้ ดังนั้น หากมีการนำเข้าผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้ หน่วยงานที่รับผิดชอบต้องใช้มาตรการสุขอนามัยพืช (Phytosanitary measures) เช่น
-วิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืช เพื่อออกกฎระเบียบการนำเข้าผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้ จากประเทศที่มีวัชพืชนี้
-สุ่มตรวจสอบผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของเมล็ดวัชพืชชนิดนี้ ทุก shipment ที่มีการนำเข้า 
-พิจารณาการผลิตในแหล่งผลิตของประเทศที่จะส่งออกผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นเส้นทางของวัชพืชชนิดนี้มายังประเทศไทย เช่น การทำความสะอาดแปลง / การปฏิบัติการเขตกรรมที่เหมาะสม / กานควบคุมวัชพืชด้วยชีววิธี / การควบคุมวัชพืชด้วยสารเคมี / การบริหารจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ (Integrated Pest Management)

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] URL https://www.cabi.org/isc/datasheet/7377
[2] CAB International 2005. Crop Protection Compendium. Walingford, UK: CAB International.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication