ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Meloidogyne incognita (Kofoid & White, 1919) Chitwood 1949
ชื่อพ้อง (Synonym) Meloidogyne acrita Chitwood, 1949,Meloidogyne incognita acrita Chitwood, 1949,Meloidogyne wartellei Golden & Birchfield, 1978,Oxyuris incognita Kofoid & White, 1919
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) ไส้เดือนฝอยรากปม
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) southern root-knot nematode
Phylum Nematoda (CABI, 2014)
Class Secernentea
Order Tylenchida
Family Meloidogynidae
Genus Meloidogyne
Species incognita
ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai) โรครากปม
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name) root gall, root knot
พืชอาศัยหลัก (Main host)
หอมแดง, หอมไทย : Shallot (Allium ascalonicum)
หอมหัวใหญ่ : onion (Allium cepa)
สับปะรด : pineapple (Ananas comosus)
คื่นช่าย : celery (Apium graveolens)
คะน้า : Chinese kale (Brassica alboglabra)
ผักกาดเขียวปลี : Leaf mustard, Indian mustard, Chinese mustard (Brassica juncea)
กะหล่ำดอก : cauliflower (Brassica oleracea var. botrytis)
กะหล่ำปลี : cabbage (Brassica oleracea var. capitata)
พริกขี้หนู : bird pepper (Capsicum frutescens)
พืชสกุลพริก : (Capsicum sp.)
มะละกอ : papaya/pawpaw (Carica papaya)
เบญจมาศ : Chrysanthemum (Chrysanthemum morifolium)
แตงโม : watermelon (Citrullus vulgaris)
ปอกระเจาฝักกลม : White Jute (Corchorus capsularis)
แตง, แตงกวา : cucumber (Cucumis sativus)
ฟักทอง : pumpkin (Cucurbita moschata)
แครอท : carrot (Daucus carota)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
None Data
ราก หัวใต้ดิน (tuber)
หัว,ราก,ต้นกล้า ดิน,น้ำ,เครื่องมือและอุปกรณ์การเกษตร
ความชื้นในดินและการปลูกพืชอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน มีผลต่อการแพร่ระบาดของไส้เดือนฝอย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในที่ลุ่มแห้งสลับเปียก
จากเอกสารการตรวจตัวอย่างโรครากปมของพืชโดยนักวิชาการโรคพืชของไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2505-2515 มักรายงานว่าเกิดจากไส้เดือนฝอย Meloidogyne spp. ในปี 2514 และ 2521 สืบศักดิ์และคณะ ทำการสำรวจทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือและบางส่วนของภาคเหนือ พบไส้เดือนฝอย Meloidogyne incognita เข้าทำลายพืชต่าง ๆ มากกว่า 60 ชนิด
ที่ลุ่มและมีการให้น้ำแบบแห้งสลับเปียก
ปลูกพืชหมุนเวียน เช่น ข้าวโพด ใช้พันธุ์ต้านทาน ปลูกดาวเรือง หรือ ปอเทืองเป็นพืชสลับ
[1] CABI. 2014. Invasive Species Compendium: Helicotylenchus multicinctus. http://www.cabi.org/isc/datasheet/26826
[2] CABI. 2011. URL http://www.cabi.org
[3] CABI/EPPO. 2002. Meloidogyne hapla. Distribution Maps of Plant Diseases, No. 853. Wallingford, UK: CAB International.
[4] Chunram, C. 1972. A list of plant parasitic nematodes in Thailand. Plant Protection Service Technical Bulletin, Ministry of Agriculture, Bangkok, Thailand. 1-44 pp.
[5] Jones, J.B., J.P. Jones, R.E. Stall and T.A. Zitter.1991. Compendium of Tomato Diseases. The American Phytopathological Society. 3340 pilot Knob Road Rt. Paul, Minnesota 55121, U.S.A. URL http://entoplp.okstate.edu/ddd/insects/cornearworm.htm
[6] Nasir, M., D.B. Letham, S.J. Singh and P.J. Wilcock. 1998. Maize diseases of Australia and the world. Australian Quarantine and Inspection Service, Australia.
[7] Pernezny, K., P. Roberts, J. Murphy and N. Goldberg. 2003. Compendium of pepper diseases. The American Phytopathological Society: St. Paul. URL http://www.apsnet.org/online/commonname/pepper.asp
[8] Sharma, S. 2008. Draft import risk analysis for fresh capsicum (Paprika) fruit from the republic of Korea. Department of Agriculture and Food Western Australia. URL http://www.daff.gov.au/__data/assets/pdf_file/0006/769290/DAFWA_submission.pdf
[9] Shepherd, J.A., K.R. Barker. 1990. Nematode parasites of tobacco, 493-517 pp. In M. Luc, R.A. Sikora and J. Bridge, eds. Plant-parasitic nematodes in subtropical and tropical agriculture. Wallingford, UK: CAB International.
[10] UCIPM. 2009. UC IPM pest management guidelines: tomato. Statewide IPM Program, Agriculture and Natural Resources, University of California. URL http://www.ipm.ucdavis.edu/PMG/setectnewpest.tomatoes.html
[11] USDA-APHIS-PPQ-CPHST-PERAL. 2004. Importation of fresh pepper fruit with stems (Capsicum annuum L., C. frutescen L., C. baccatum L., C. pubescens Ruiz and Pav. and C. chinense Jacq.) from Costa Rica, El Salvador, Guatemala, Honduras and Nicaragua into the United states. United States Department of Agriculture (USDA), Animal and Plant Health Inspection Service (APHIS), Plant Protection and Quarantine (PPQ), Center for Plant Health Science and Technology (CPHST) and Plant Epidemiology and Risk Analysis Laboratory (PERAL), Raleigh, NC.
[12] กรมวิชาการเกษตร. 2537. ดรรชนีโรคพืชในประเทศไทย. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.
[13] กิ่งกาญจน์ พิชญกุล. 2524. อิทธิพลของดาวเรือง (Tagetes patula) ต่อไส้เดือนฝอยศัตรูมะเขือเทศ. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. ภาควิชาโรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 48 หน้า.
[14] คมสัน จำรูญพงษ์. 2532. ความผันแปรภายในชนิดของไส้เดือนฝอยรากปม (Meloidogyne incognita). วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. ภาควิชาโรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 81 หน้า.
[15] นรินทร์ หนูช่วย. 2528. การศึกษาอิทธิพลของไส้เดือนฝอยรากปม (Meloidogyne incognita) ต่อมะละกอ. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. ภาควิชาโรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 82 หน้า.
[16] บัญชา ชิณศรี. 2534. อิทธิพลของไส้เดือนฝอยรากปม (Meloidogyne incognita) ต่อการเจริญเติบโตของข้าวบาร์เลย์และการป้องกันกำจัด. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. ภาควิชาโรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
[17] พัฒนา สนธิรัตน, ประไพศรี พิทักษ์ไพรวัน, ธนวัฒน์ กำแหงฤทธิรงค์, วิรัช ชูบำรุง และ อุบล คือประโคน. 2537. ดรรชนีโรคพืชในประเทศไทย. กลุ่มงานวิทยาไมโค กองโรคพืชและจุลชีววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 285 หน้า.
[18] ยุทธศักดิ์ เจียมไชยศรี. 2530. ความเสียหายที่เกิดจากไส้เดือนฝอยรากปม (Meloidogyne incognita) ของผัก 5 ชนิด. วิทยานิพนธปริญญาโท. ภาควิชาโรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 80 หน้า.
[19] สถิรวงศ์ แจ่มจรรยา. 2526. ความเสียหายของมะเขือเทศที่เกิดจากไส้เดือนฝอยรากปม (Meloidogyne incognita). วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. ภาควิชาโรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 128 หน้า.
[20] สืบศักดิ์ สนธิรัตน. 2552. ไส้เดือนฝอยศัตรูพืชในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. สมาคมนักโรคพืชแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 274 หน้า.
[21] สืบศักดิ์ สนธิรัตน์. 2524. โรคมะเขือเทศที่เกิดจากไส้เดือนฝอย. วารสารโรคพืช 1:6-13.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable