Criconemella ornata (Raski, 1958) Luc and Rask, 1981

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Criconemella ornata (Raski, 1958) Luc and Rask, 1981
ชื่อพ้อง (Synonym)  Macroposthonia ornata (Raski, 1958) DeGrisse and Loof, 1965,Criconemoides ornatus Raski, 1958, Criconemoides cylindricum Raski, 1958
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  -
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  Ring nematode

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Nematoda (CABI, 2011)
    Class  Secernentea
        Order  Tylenchida
           Family  Criconematidae
              Genus  Criconemoides
                 Species  ornata

ชื่อโรค (Disease name)

ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai)   
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name)   

ลักษณะอาการของโรค (Disease symptoms and developments)

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

สับปะรด : pineapple (Ananas comosus)
ถั่วลิสง : groundnut, peanut, Monkey Nut (Arachis hypogaea)
ขมิ้น : turmeric (Curcuma longa)
คาร์เนชั่น : carnation (Dianthus caryophyllus)
มันเทศ : sweet potato (Ipomoea batatas)
ลิ้นจี่ : litchi (Litchi chinensis)
มะม่วง : mango (Mangifera indica)
มันสำปะหลัง : cassava (Manihot esculenta)
ยาสูบ : tobacco (Nicotiana tabacum)
พริกไทย : Pepper (Piper nigrum)
ฝรั่ง : guava (Psidium guajava)
อ้อย : sugarcane (Saccharum officinarum)
มันฝรั่ง : potato (Solanum tuberosum)
ข้าวฟ่าง : sorghum (Sorghum bicolor)
ข้าวโพด : corn, maize (Zea mays)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

ผักตระกูลกะหล่ำ : cruciferous (Brassica spp.)
อบเชย : cinnamon (Cinnamomum verum)
พืชตระกูลส้ม : (Citrus spp.)
กาแฟ : coffee (Coffea sp.)
ขมิ้น : turmeric (Curcuma longa)
คาร์เนชั่น : carnation (Dianthus caryophyllus)
มะม่วง : mango (Mangifera indica)
กล้วย, พืชสกุลกล้วย : banana (Musa sp.)
องุ่น : grape (Vitis vinifera)
ข้าวโพด : corn, maize (Zea mays)

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

ราก

แหล่งที่มาของเชื้อ (Source of inoculums)

ราก, ดิน, น้ำ

พาหะ (Vector)

การแพร่กระจาย (Distribution)

มีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศไทย โดย Pholchroen et al. (1972) โดยพบในแปลงข้าวไร่และข้าวฟ่างที่ศูนย์วิจัยข้าวโพดข้าวฟ่างแห่งชาติ จังหวัดนครราชสีมา นอกจากนี้ยังพบในมันสำปะหลังและข้าว ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ไส้เดือนฝอย Criconemella ornata มีการกระจายตัวในพืชอย่างกว้างขวางและทั่วทุกภาคของประเทศ

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

ไส้เดือนฝอยมีการปรับตัวและอยู่รอดได้ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในไม้ผลที่ปลูกมาเป็นระยะเวลานานหลายปี

วิธีการควบคุม (Control measure)

การใช้สารเคมีก่อนปลูก (preplant nematicides) หรือหลังปลูก (post plant nematicides)

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Arayarangsarit, L. 1991. Relationships between upland rice varieties and root-lesion nematode, Pratylenchus zeae Graham. Ph.D. Thesis. Department of Plant Pathology, Kasetsart University, Bangkok. 102 p.
[2] CABI. 2011. URL http://www.cabi.org
[3] Chunram, C. 1972. A list of plant parasitic nematodes in Thailand. Plant Protection Service Technical Bulletin, Ministry of Agriculture, Bangkok, Thailand. 1-44 pp.
[4] Evans, K., D.L. Trudgill, and J.M. Webster. 1993. Chapter 1. Extraction, Identification and Control of Plant Parasitic Nematodes. in Plant Parasitic Nematodes in Temperate Agriculture. CAB International, UK. 648 pages
[5] Orton Willliams, K.J. 1972. Macroposthonia xenoplax. C.I.H. Descriptions of Plant-parasitic Nematodes. Set 1, No. 12. Commonwealth Institute of Parasitology. C.A.B. International. 2 pages.
[6] Pholcharoen, S., A. Boonduang and A.L. Taylor. 1972. Identification of plant parasitic nematodes of Thailand. I. Criconematidae. Plant Protection Service. Tech Bull. No. 2. Department of Agriculture. Ministry of Agriculture and Co-operatives. Bangkok. 8 p.
[7] Plantwise. 2014. Plantwise Technical Factsheet: ring nematode (Criconemella. http://www.plantwise.org/KnowledgeBank/Datasheet.aspx?dsid=16034
[8] Timm, R.W. 1965. A preliminary survey of plant parasitic nematodes of Thailand and the Philippines. Report of South East Asia Treaty Organization. URL http://www.cabdirect.org/abstracts/19660802267.html?freeview=true
[9] นัยนา ทองเจียม. 2526. ไส้เดือนฝอยศัตรูพืชในเขตปลูกมันสำปะหลังของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. ภาควิชาโรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 138 หน้า.
[10] พัฒนา สนธิรัตน, ประไพศรี พิทักษ์ไพรวัน, ธนวัฒน์ กำแหงฤทธิรงค์, วิรัช ชูบำรุง และ อุบล คือประโคน. 2537. ดรรชนีโรคพืชในประเทศไทย. กลุ่มงานวิทยาไมโค กองโรคพืชและจุลชีววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 285 หน้า.
[11] วิชชุดา พลเวียง. 2529. ไส้เดือนฝอยศัตรูพืชในนาข้าวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. ภาควิชาโรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 175 หน้า.
[12] สมควร คีรีวัลย์ และ จรัส ชื่นราม. 2553. การแพร่กระจายของไส้เดือนฝอยศัตรูถั่วเหลืองในประเทศไทย. วารสารวิชาการเกษตร. ปีที่ 8 ฉบับที่ 3. URL http://it.doa.go.th/journal/php/detail.php?id=227
[13] สืบศักดิ์ สนธิรัตน. 2552. ไส้เดือนฝอยศัตรูพืชในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. สมาคมนักโรคพืชแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 274 หน้า.
[14] อัมพา อินทธาธร. 2524. การศึกษาอนุกรมวิธานของไส้เดือนฝอยมะเขือเทศในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. ภาควิชาโรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 186 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication