ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Ditylenchus angustus (Butler, 1913) Filipjev, 1936
ชื่อพ้อง (Synonym) Anguillulina angusta (Butler, 1913) Goodey, 1932,Tylenchus angustus Butler, 1913
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) -
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) rice stem nematode
Phylum Nematoda (CABI, 2014)
Class Secernentea
Order Tylenchida
Family Anguinidae
Genus Ditylenchus
Species angustus
ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai) โรครวงหงิก
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name) ufra
พืชอาศัยหลัก (Main host)
ข้าว : rice (Oryza sativa)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
jungle rice (Echinochloa colona )
หญ้าไซ : southern cut grass (Leersia hexandra)
ดอก,ใบ,เมล็ด,ลำต้น
ดอก,ใบ,ต้นกล้า,ลำต้น,เมล็ด, น้ำ,เมล็ดพันธุ์
การแพร่กระจายไปกับน้ำ และทางเมล็ดพันธุ์ (seed borne)
ในประเทศไทย อรุณ (2505) รายงานการพบ Ditylenchus angustus ในรวงข้าวที่นำมาจากจังหวัดพัทลุง โดยสันนิษฐานว่าระบาดมาจากประเทศมาเลเซีย หบมีการแพร่ระบาดในเขตการปลูกข้าวของเอเซียใต้ เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ประเทศบังคลาเทศ ปากีสถาน อินเดีย พม่า ไทย อินโดนีเซีย กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และ ฟิลิปปินส์
ข้าวที่ปลูกแบบน้ำลึก (deep water rice) พบมีการระบาดของไส้เดือนฝอย Ditylenchus angustus มากที่สุด รองลงมาคือ เขตการปลูกข้าวแบบน้ำติ้น (lowland rice) แต่ไม่พบการระบาดในเขตการปลูกข้าวไร่ (upland rice)
เผาทำลายพืชพาหะ ใช้พันธุ์ที่ให้ผลผลิตเร็ว ปลูกพืชหมุนเวียน เช่น ปอกระเจา เพื่อลดปริมาณประชากรไส้เดือนฝอย ทำ seed treatment โดยการแช่ในน้ำร้อนอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส นาน 5 นาที (สืบศักดิ์, 2552)
[1] CABI. 2014. Invasive Species Compendium: Helicotylenchus multicinctus. http://www.cabi.org/isc/datasheet/26826
[2] CABI. 2011. URL http://www.cabi.org
[3] Chunram, C. 1972. A list of plant parasitic nematodes in Thailand. Plant Protection Service Technical Bulletin, Ministry of Agriculture, Bangkok, Thailand. 1-44 pp.
[4] Timm, R.W. 1965. A preliminary survey of plant parasitic nematodes of Thailand and the Philippines. Report of South East Asia Treaty Organization. URL http://www.cabdirect.org/abstracts/19660802267.html?freeview=true
[5] สมศักดิ์ ศรีอำไพ และ ประกอบ กาญจนศูนย์. มปป. การเพาะโรครวงหงิกของข้าว, หน้า 460-461. ใน รายงานการประชุมทางวิชาการเกษตรศาสตร์และชีววิทยา ครั้งที่ 2 (สาขาพืชและชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. URL http://kucon.lib.ku.ac.th/Fulltext/KC0201075.pdf
[6] สืบศักดิ์ สนธิรัตน. 2552. ไส้เดือนฝอยศัตรูพืชในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. สมาคมนักโรคพืชแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 274 หน้า.
[7] อรุณ จันทนโอ. 2505. รายงานการสำรวจไส้เดือนฝอยศัตรูข้าวและชนิดอื่นบางชนิดในประเทศไทย. เอกสารทางวิชาการฉบับที่ 1. แผนกกีฏวิทยาและโรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. โรงพิมพ์สำนักทำเนียบนายกรัฐมนตรี, กรุเทพฯ. 15 หน้า.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable