ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Hirschmanniella oryzae (van Breda de Haan, 1902) Luc & Goodey, 1964
ชื่อพ้อง (Synonym) Anguillulina oryzae (van Breda de Haan) T. Goodey, 1932,Hirschmannia oryzae (van Breda de Haan) Luc and Goodey, 1962,Hirschmanniella nana Siddiqi, 1966,Radopholus oryzae (van Breda de Haan) Thorne, 1949,Rotylenchus oryzae (van Breda de Haan) Filipjev & Schuurmans Stekhoven, 1914,Tylenchus apapillatus Immamura, 1931,Tylenchus oryzae van Breda de Haan, 1902
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai) ไส้เดือนฝอยรากข้าว
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) rice root nematode
Phylum Nematoda (Ferris, 2013)
Class Secernentea
Order Tylenchida
Family Pratylenchidae
Genus Hirschmanniella
Species oryzae
ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai)
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name)
พืชอาศัยหลัก (Main host)
ข้าว : rice (Oryza sativa)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
กระเจี๊ยบเขียว : okra (Abelmoschus esculentus)
อ้อย : sugarcane (Saccharum officinarum)
มะเขือเทศ : tomato (Lycopersicon esculentum)
ข้าวสาลี : wheat (Triticum aestivum)
ข้าวโพด : corn, maize (Zea mays)
ราก
ราก,ต้นกล้า ดิน,น้ำ,เครื่องมือและอุปกรณ์การเกษตร
สืบศักดิ์ (2552) รายงานว่า ในปี 1952 Throne รายงานพบไส้เดือนฝอยนี้ (ในขณะนั้นใช้ชื่อว่า Radopholus oryzae) ในนาข้าว เกษตรกลาง บางเขน ต่อมา อรุณ (1962) รายงานการพบไส้เดือนฝอยชนิดนี้ในนาข้าวทั่วประเทศไทย
สามารถอยู่รอดและระบาดได้มากยิ่งขึ้นในสภาพน้ำขัง เมื่อเปรียบเทียบกับสภาพข้าวน้ำแห้ง หรือมีการระบายน้ำที่ดี
เพิ่มปุ๋ย ธาตุอาหารในดิน ควบคุมวัชพืช
ใช้พันธ์ต้านทาน
ปลูกพืชหมุนเวียนกับพืชที่ไม่ใช่พืชอาศัยของไส้เดือนฝอย
ใช้สารเคมี
[1] CABI. 2011. URL http://www.cabi.org
[2] CABI/EPPO. 2000. Hirschmaniella oryzae. Distribution Maps of Plant Diseases, Map No. 813. Wallingford, UK: CAB International.
[3] EPPO. 2006. PQR database (version 4.5). Paris, France: European and Mediterranean Plant Protection Organization. URL www.eppo.org
[4] Ferris, H. 2013. Meloidogyne coffeicola. Nemaplex. URL http://plpnemweb.ucdavis.edu/nemaplex/Taxadata/G076s22.HTM
[5] Timm, R.W. 1965. A preliminary survey of plant parasitic nematodes of Thailand and the Philippines. Report of South East Asia Treaty Organization. URL http://www.cabdirect.org/abstracts/19660802267.html?freeview=true
[6] พินิจ หวังสมนึก. 2525. เปรียบเทียบการสืบพันธุ์และอัตราการเจาะเข้าของไส้เดือนฝอยรากข้าวในรากข้าวบางพันธุ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. ภาควิชาสัตววิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 53 หน้า.
[7] วิชชุดา พลเวียง. 2529. ไส้เดือนฝอยศัตรูพืชในนาข้าวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. ภาควิชาโรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 175 หน้า.
[8] สมศักดิ์ ศรีอำไพ. 2506. การศึกษาความต้านทานต่อการเข้าไปในรากและความเสียหายของข้าวบางพันธุ์เนื่องจากไส้เดือนฝอยรากข้าว. วิทยานิพนธ์ปริญญาตรี. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.
[9] สืบศักดิ์ สนธิรัตน. 2552. ไส้เดือนฝอยศัตรูพืชในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. สมาคมนักโรคพืชแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 274 หน้า.
[10] สืบศักดิ์ แย้มสนรัตน์. 2506. การศึกษาความเสียหายของข้าวพันธุ์เบาที่เกิดจากไส้เดือนฝอยรากข้าวและพืชอาศัยอื่น ๆ. วิทยานิพนธ์ปริญญาตรี. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable