ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Meloidogyne chitwoodi Golden, O'Bannon, Santo & Finley, 1980
ชื่อพ้อง (Synonym)
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name) Columbia root-knot nematode
Phylum Nematoda
Class
Order
Family Meloidogynidae
Genus Meloidogyne
Species Meloidogyne chitwoodi
ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai)
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name)
ลักษณะอาการทั่วไป:
-ใบพืชแสดงอาการเหลืองและเหี่ยว
-ต้นพืชแคระแกร็น
-ที่บริเวณผิวของหัวมันฝรั่งจะปรากฏตุ่มนูนขนาดเล็กจำนวนมาก เมื่อปอกเปลือกออกจะพบจุดแผลสีน้ำตาล
-รากแสดงอาการปุ่มปมและโป่งพอง
ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ / ต้น / ราก
พืชอาศัยหลัก (Main host)
แครอท : carrot (Daucus carota)
ถั่วอัลฟัลฟา : alfalfa (Medicago sativa)
มะเขือเทศ : Tomato (Solanum lycopersicum)
มันฝรั่ง : potato (Solanum tuberosum)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)
ข้าวโอ๊ต : oat (Avena sativa)
ผักกาดแดง : Beetroot, Sugarbeet (Beta vulgaris var. saccharifera)
คีโนโพเดียม : quinoa (Chenopodium quinoa)
ข้าวบาร์เลย์ : barley (Hordeum vulgare)
ถั่วแขก, ถั่วแดงหลวง : common bean, red kidney bean, kidney bean (Phaseolus vulgaris)
ถั่วลันเตา : pea, garden pea (Pisum sativum)
ข้าวสาลี : wheat (Triticum aestivum)
ข้าวโพด : corn, maize (Zea mays)
-ใบ
-ต้น
-ราก
ปัจจัยจากพืชอาศัย
ส่วนขยายพันธุ์ / ต้นกล้า
ปัจจัยจากภายนอก
-ตัวอ่อนปนเปื้อนอยู่ในดินและแพร่ไปกับอุปกรณ์ พาหนะในแปลงที่เคลื่อนที่ รวมทั้งเครื่องแต่งกายของเกษตรกร ภาชนะบรรจุ
-ดิน / ทราย / กรวด / ทราย
-วัสดุปลูก
Asia: Turkey (restricted distribution)
Africa: Mozambique, South Africa (restricted distribution)
North America: Mexico, USA (restricted distribution)
South America: Argentina
Europe: Belgium, France (restricted distribution), Italy, Netherlands (restricted distribution), Portugal (restricted distribution), Sweden (restricted distribution)
อากาศเย็น อุณหภูมิ 4-6 องศาเซลเชียส
เนื่องจากศัตรูพืชชนิดนี้เป็นศัตรูพืชกักกัน ซึ่งเป็นศัตรูพืชที่ไม่ควรพบอยู่ในประเทศไทยหรือถ้าพบก็ต้องอยู่ในการควบคุมหรือมีการเฝ้าระวังได้ ดังนั้น หากมีการนำเข้าผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์พืชที่มีโอกาสเป็นพืชอาศัยของศัตรูพืชชนิดนี้ หน่วยงานที่รับผิดชอบต้องใช้มาตรการสุขอนามัยพืช (Phytosanitary measures) เช่น
-วิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืช เพื่อออกกฎระเบียบการนำเข้าส่วนขยายพันธุ์ / ต้นกล้า จากประเทศที่มีเชื้อนี้
-สุ่มตรวจสอบส่วนขยายพันธุ์ / ต้นกล้า นำเข้าทุก shipment ที่มีการนำเข้า และให้รมยากำจัด
-พิจารณาการผลิตในแหล่งผลิตของประเทศที่จะส่งออกส่วนขยายพันธุ์ / ต้นกล้า ที่มีโอกาสเป็นที่อาศัยของศัตรูพืชชนิดนี้มายังประเทศไทย เช่น การใช้ส่วนขยายพันธุ์ปลอดโรค / พันธุ์ต้านทาน / การรมกำจัด cyst ในดิน / การทำความสะอาดแปลง / การปฏิบัติการเขตกรรมที่เหมาะสม
[1] URL https://www.cabi.org/isc/datasheet/33235
[2] CAB International 2005. Crop Protection Compendium. Walingford, UK: CAB International.
[3] John, B. and J. L. Starr. 2007. Plant nematodes of agricultural importance. Manson publishing. UK. 152 pp.
Presence
☐ Present: in all parts of the areaAbsence
☐ Absent: no pest recordsTransience
☐ Transient: non-actionable