Bandicota indica  (Bechstein)

ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Bandicota indica  (Bechstein)
ชื่อพ้อง (Synonym)  Bandicota indica nemorivaga; Bandicota mordax; Bandicota siamensis
ชื่อสามัญภาษาไทย (Common name , Thai)  หนูพุกใหญ่
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ (Common name)  great bandicoot rat

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)

Phylum  Chordata
    Class  Mammalia
       Order  Rodentia
           Family  Muridae
              Genus  Bandicota
                Species  indica

ลักษณะการทำลาย (Infestation)

พบทำลายข้าว ธัญพืช และพืชไร่ต่างๆ ตั้งแต่ระยะปลูกไปจนถึงเก็บเกี่ยว สำหรับกล้าปาล์มน้ำมันในสวนปลูกใหม่ หนูพุกจะกัดแทะและกินเป็นอาหารบริเวณโคนต้นเมล็ดที่ใช้ปลูก ระยะต้นอ่อน และผลผลิตของข้าวหรือพืชอื่นๆ จะถูกกินเป็นอาหารและกัดแทะเพื่อลับฟันเมล็ดและลำต้นพืช

พืชอาศัย (Host range)

พืชอาศัยหลัก (Main host)

ข้าว : rice (Oryza sativa)

พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

ข้าวโพด : corn, maize (Zea mays)
ถั่วเหลือง : soyabean (Glycine max)
ถั่วเขียว : Mung BeanGreen BeanGreen GramGolden Gram (Vigna radiata)
ปาล์มน้ำมันแอฟริกัน : African oil palm (Elaeis guineensis)
ข้าวสาลี, พืชสกุล Triticum : wheat (Triticum sp.)
ข้าวฟ่าง, ฟ่างหางหมา : foxtail millet (Setaria italica)
ถั่วเขียว : Mung BeanGreen BeanGreen GramGolden Gram (Vigna radiata)
กาแฟ : coffee plant (Coffea spp.)
พืชตระกูลหญ้า : grass (Gramineae)

ส่วนของพืชที่ใช้เป็นที่อาศัย (Harboring plant part)

ขุดรูอาศัยตามคันนาใหญ่ หรือตามคันดินข้างคูคลอง บริเวณที่วัชพืชขึ้นหนาแน่น

การแพร่กระจาย (Distribution)

พบในนาข้าวทั่วประเทศ และสวนปาล์มน้ำมันปลูกใหม่ทางภาคใต้ และภาคกลาง

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (Favorable condition)

นาข้าว และพืชไร่อื่นๆ สวนปาล์มน้ำมันปลูกใหม่

ศัตรูธรรมชาติ (Natural enemy)

แมวป่า พังพอน นกเหยี่ยว งูชนิดต่างๆ นกแสก มนุษย์ ฯลฯ

วิธีการควบคุม (Control measure)

ใช้วิธีการป้องกันกำจัดหนูแบบผสมผสาน เช่น วิธีกล กายภาพ และการเขตกรรม ใช้สารชีวินทรีย์กำจัดหนู (ค๊อคซิเดียนปรสิตโปรโตซัว, Sarcocystis singaporensis) หรือ ศัตรูธรรมชาติ หรือร่วมกับการใช้สารเคมีกำจัดหนู เป็นต้น

เอกสารอ้างอิง (Reference)

[1] Lekagul, B. and J.A. McNeely. 1977. Mammals of Thailand. Association for Conservation of Wildlife. Kuruspa, Bangkok. 457 p.
[2] กลุ่มงานสัตววิทยาการเกษตร กองกีฏและสัตววิทยา. 2544. หนูและการป้องกันกำจัด. กรมวิชาการเกษตร. 136 หน้า
[3] สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กลุ่มวิจัยกีฏและสัตววิทยา. 2551. คำแนะนำการใช้สารป้องกันกำจัดแมลงและสัตว์ศัตรูพืช. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 295 หน้า.

แหล่งเก็บรักษาตัวอย่างอ้างอิง (Specimen depository)

สถานภาพศัตรูพืช (Pest status)

Presence

☐ Present: in all parts of the area
☐ Present: only in some areas
☐ Present: except in specified pest free areas
☐ Present: in all parts of the area where host crop(s) are grown
☐ Present: only in some areas where host crop(s) are grown
☐ Present: only in protected cultivation
☐ Present: seasonally
☐ Present: but managed
☐ Present: subject to official control
☐ Present: under eradication
☐ Present: at low prevalence

Absence

☐ Absent: no pest records
☐ Absent: pest eradicated
☐ Absent: pest no longer present
☐ Absent: pest records invalid
☐ Absent: pest records unreliable
☐ Absent: intercepted only

Transience

☐ Transient: non-actionable
☐ Transient: actionable, under surveillance
☐ Transient: actionable, under eradication